top of page

Music for Society III 1/2021

Course ID: 111 111

Prerequiste: Pass Music for Society 2

กิจกรรมสร้างสรรค์ทางดนตรีที่มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านดนตรีเพื่อประโยชน์ให้กับกลุ่มชุมชนโดยมีความสอดคล้องกับสภาวะและความต้องการของกลุ่มชุมชนที่แตกต่างกัน โดยจัดในพื้นที่หรือกลุ่มชุมชนที่แตกต่างจากดนตรีเพื่อประชาสังคม 2 และครอบคลุมกลุ่มผู้ชมมากขึ้น

Creative musical activities focusing on applying musical knowledge to benefit a community by tailoring the activities to suit the conditions and needs; the activities must be arranged in the area or community that is different from those in Music for Society 2 and cover more audiences.

Screenshot 2564-08-04 at 14.08_edited.jpg
Music for Society III 1/2021: Classes

การนำเสนอผลงานของนักศึกษารายวิชาดนตรีเพื่อประชาสังคม 3 ปีการศึกษา 2564  (Online Edition) ภายใต้แนวคิดดนตรีเพื่อประชาสังคมในฐานะดนตรีเป็นเครื่องมือสำหรับพลเมืองโลก

Music for Society III 1/2021: About Us

General Info

Music for Society III 1/2021: Text

Weekly

Week 01

Date: 5 Aug 2021

Time: 1 - 2 pm

แนะนำรายวิชา วิธีวัดประเมินผล และแนวคิดรวบยอดดนตรีเพื่อประชาสังคม 3


Music for Society 3: Orientation, Concept and Evaluation

รายละเอียด:

แนะนำรายวิชา อภิปรายแนวคิดด้านดนตรีเพื่อประชาสังคม และลักษณะของการเรียนรู้ในรูปแบบของการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) โดยมีกลุ่มผู้ชมออนไลน์เป็นพื้นที่ศึกษาภายใต้สถาการณ์ที่ไม่ปกติจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา

The Music for Society 3 orientation focuses on the concept and evaluation of course objectives. Describes teaching in the idea of project-based learning (PBL) instruction. The activities aim to concentrate the social media audience to suit the course. 

music for society เพิ่มเติม.jpg

Week 02

Date: 12 Aug 2021

Time: 1 - 2 pm

ความเป็นพลเมืองโลก: การเชื่อมโยงแนวคิดด้านการตระหนักรู้ของนักดนตรีสมัยใหม่ในงานดนตรีเพื่อประชาสังคม


Global Citizen: Reconciliation of the new generation musicians’ awareness in Music for Society

รายละเอียด

บรรยายและอภิปรายแนวคิดในความเป็นพลเมืองโลก โดยชี้ให้เห็นผ่านกรณีศึกษาทางด้านกิจกรรมดนตรีที่เปลี่ยนแปลงโลก ผู้เรียนจะสามารถพัฒนาความคิดในการสร้างสรรค์และพัฒนาผลงานด้านตรีสร้างสรรค์ให้แก่ประชาสังคมได้ 

To lecture and discuss the widening idea of the global citizen; illustrates the case study in music activities to make-change the world. Learners will develop the idea to create and develop the music activities for people needed. 

Music for society III2.jpg

Week 03

Date: 19 Aug 2021

Time: 1 - 2 pm

กรณีศึกษา อักษร - ศิลป์ เพื่อน้อง


Case Study: Aksornsilpa, creative music and arts camp


ทบทวนกิจกรรมดนตรีเพื่อประชาสังคมในช่วงสถานการณ์ไม่ปกติ


Reviewed the Previous Music for Society Activity during COVID-19 Pandemic

รายละเอียด 

กรณีศึกษาค่าย อักษร-ศิลป์ เพื่อน้อง ที่ใช้แนวคิดในลักษณะของสหวิทยากรโดยเชื่อมโยงผ่านกิจกรรมดนตรีและการผนวกหลายทักษะ รวมถึงการทบทวนกิจกรรมดนตรีที่สร้างผลกระทบให้แก่ผู้คนในช่วงสถานการณ์ที่ไม่ปกติจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 


A case study of Aksornsilpa, creative music and arts camp, reconciles many skills of different volunteers or campers and the organisation. In this week, learners will explore the music activities that impact the people in the unforeseen circumstance of the COVID-19 pandemic. 

Music for society III3.jpg

Date: 26 Aug 2021

เข้าร่วมงานประชุมวิชาการนานาชาติทางด้านดนตรี


Participation in the Princess Galyani Vadhana International Symposium

PGVIS-Symposium2021-Poster-1200x1500_edited.jpg

Week 04-07

Date: Date: 2, 9, 16, 23 Sept 2021

Time: 1 - 2 pm

Supervision 10 min/each


Practice

รายละเอียด:     

ให้คำปรึกษาแก่นักศึกษารายบุคคลในการทำงานกิจกรรมดนตรีเพื่อประชาสังคม 3 โดยสามารถลงทะเบียนเข้ารับคำปรึกษาได้ที่ TBA และการฝึกปฏิบัติด้านการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีเพื่อประชาสังคม

Individual supervision for developing the idea of creating society's musical knowledge to suit the current situation. Learners can individually register via a google sheet, TBA. Secondly, to practice and create the Music for Society output.

Music for society III4-7.jpg

Week 08

Date: 30 Sept 2021

Time: 1 - 2 pm

Mid-term Presentation

รายละเอียด:    

การนำเสนอผลงานของนักศึกษาจากการดำเนินกิจกรรมรายบุคคลจากโครงร่างงานดนตรีเพื่อประชาสังคม 3 เพื่อให้เห็นกิจกรรมของโครงร่างที่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการดำเนินกิจกรรม  เป็นการวัดผลคะแนนสอบกลางภาค

The mid-term exam -student presentation illustrates the idea from brainstorming, discussing and developing the individual project. 

Music for society III8.jpg

Date: 4-8 Oct 2021

สัปดาห์โครงการพิเศษ

 Participation in the PGVIM Project Week

project week2.jpg

Week 09-12

Date: Date: 14, 21, 28 Oct, 4 Nov 2021

Time: 1 - 2 pm

Individual Practice

ฝึกปฏิบัติ (ต่อ) โดยสามารถขอรับคำปรึกษาจากผู้สอนได้

Time for practising and developing your project. Learners can ask for supervision by appointing the lecturer. 

Music for society III9-12.jpg

Week 13

Date: Date: 11 Nov 2021

Time: 1 - 2 pm

กำหนดส่งผลงานทางอีเมล์

Submit your project via email

Music for Society I14.png

Week 14

Date: Date: 18 Nov 2021

Time: 1 - 2 pm

การนำเสนอผลงานในรูปแบบออนไลน์

Online Showcase

Social media presentation 
The channel of the presentation will be announced.

Music for society III14.jpg

Week 15

Date: Date: 25 Nov 2021

Time: 1 - 2 pm

อภิปรายผลรายบุคคล

Personnel discussion

อภิปรายผลรายบุคคลเพื่อสะท้อนผลลัพธ์ของการดำเนินงานด้านดนตรีเพื่อประชาสังคมที่ส่งผลกระทบจากการดำเนินงานที่ผ่านมา 

Personnel discussion; to reflect from the practising of the activities and analyse, feedback of the creative works.

Music for society III15.jpg

Week 16

Date: Date: 2 Dec 2021

Time: 1 - 2 pm

กำหนดส่งรีเฟลคชัน

Submit reflection

งานเขียน กำหนด 1 หน้ากระดาษ A4 ที่สะท้อนการทำงานและความรู้ที่ได้รับ โดยสามารถเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาดนตรีเพื่อประชาสังคม

A writing essay (one A4) reflected your creative work, both knowledge and practising; it should be suggested as a guideline for future Music for Society projects. 

Music for society III16.jpg
Music for Society III 1/2021: Membership

Assessment

5%

การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน

Attendance and participation

10%

สอบกลางภาค การนำเสนอผลงานของนักศึกษาจากโครงร่างงานดนตรีสร้างสรรค์เพื่อประชาสังคม

Mid-term examination -to present your dream project to suit with the idea of Music for Society

70%

การฝึกปฏิบัติ คุณภาพของผลงาน และการนำเสนอผลงาน

Practising, quality of the creative work, and online showcase

10%

การอภิปรายผลหลังการนำเสนอผลงาน

Group discussion

5%

รีเฟลคชัน

Reflection

Music for Society III 1/2021: Infographics

เครื่องมือการวัดและประเมินผลพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ประเมินและวัดผลการเรียนรู้ แนวทางจัดการศึกษาดนตรีชุมชน การจัดการการเรียนรู้เคมบริจด์ โดยผู้เรียนควรจะอยู่ในระดับ "ผ่านระดับดี" ในแต่ละผลลัพธ์การเรียนรู้ ประกอบด้วย 

  1. ความรู้ความเข้าใจในบริบทของวัฒนธรรมชุมชนและกลุ่มเป้าหมาย 

  2. ความสามารถในการดำเนินกิจกรรม

  3. ความสามารถในการวางแผนงานและดำเนินกิจกรรมพร้อมแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า

  4. การประเมินผลการดำเนินกิจกรรม

​​

Music for Society course developed the assessment tools from Oxford Cambridge and RSA (OCR), Music in the Community level 3 Cambridge technical in performing arts. Learners must qualify at least level "Merit" of the OCR in each learning outcome;

  1. Know the context and purpose of the community music-making, including practitioners and organisations. 

  2. Be able to lead practical music-making activities

  3. Plan and participate in a community and music-making project for a specific community group and/or venue. 

  4. Know how to monitor and evaluate a community music-making project. 

Music for Society III 1/2021: Text

References

จารุณี มุมบ้านเซ่า. (2560). การวิจัยแบบบูรณาการข้ามศาสตร์. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 25(1), 123-124.

เชษฐา ทรัพย์เย็น. (2547). ประชาสังคมไทย: บทสังเคราะห์แนวคิด, การก่อร่างสำนักคิดแบบไทย และนัยเชิงนิติ-พฤตินัยต่อการเมืองไทย. รัฐศาสตร์สาร, 328-380.

ชาญณรงค์ เฮงอรุณประสาน, เขตสิน จูจันทร์, และ ฉมามาศ แก้วบัวดี. (2561). เรื่องเล่าเคล้าเสียงฝน: ศึกษาวัฒนธรรมชุมชน หมู่บ้านแม่ออกฮู ต.แม่หละ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก. ใน ศุภพร สุวรรณภักดี (บ.ก.), ค่ายอักษร - ศิลป์ เพื่อน้อง ปีที่ 2 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จุฬา - ธรรมศาสตร์ 3 ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (หน้า 43-48). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ทิศนา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีรพัฒน์ อังศุชวาล. (2559). ปุจฉาว่าด้วย 'ประชาสังคม' (civil society): บทสำรวจทฤษฎีและแนวคิดจากต่างประเทศสู่การพิจารณาประชาสังคมเชิงปฏิบัติการและองค์กรพัฒนาเอกชนไทย.  วารสารสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร, 1(13), 4. สืบค้นจาก https://cft.vanderbilt.edu/guides-sub-pages/blooms-taxonomy/.

เบญจมาศ ไม้เกตุ, ธรณ์ ทักษิณวราจาร, และ นรากร ปัญญาวรวุฒิ. (2561). บทเพลง ซ่ะ เก่อ ยื่อ บะ (ถวิลหา). ใน ศุภพร สุวรรณภักดี (บ.ก.), ค่ายอักษร - ศิลป์ เพื่อน้อง ปีที่ 2 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนจุฬา - ธรรมศาสตร์ 3 ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (หน้า 57). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปริญญา เทวานฤมิตรกุล, ผศ. (2563). มธ.100 พลเมืองกับการลงมือแก้ปัญหา. สืบค้น 1 มีนาคม 2563. Gen Next Academy ธรรมศาสตร์ ตลาดวิชา. https://gennext.tu.ac.th/courses/course-v1:Academic_Services_Division+TU100+2019_T2/about

พงษ์เทพ จิตดวงเปรม. (2560). ปรากฎการณ์ "จับมือมั่น". ใน ศุภพร สุวรรณภักดี บรรณาธิการ, ค่ายอักษร-ศิลป์ เพื่อน้อง โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนจุฬา-ธรรมศาสตร์ 3 ต. แม่หละ อ. ท่าสองยาง จ. ตาก (หน้า 8-9). กรุงเทพฯ : หยินหยางการพิมพ์.

ศุภพร สุวรรณภักดี. (2559). ดุษฎีนิพนธ์งานประพันธ์เพลง: ลม-กระซิบ-พราย สำหรับวงเชมเบอร์อองซอมเบลอ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต).  กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


ศุภพร สุวรรณภักดี. (2563). บทเพลงจากพื้นที่สูงปางมะผ้า: การส่งต่อเรื่องราวผ่านกระบวนการทำงานดนตรีข้ามวัฒนธรรม. ใน รัศมี ชูทรงเดช (บ.ก.),  เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเรื่อง โบราณคดีก่อนไท(ย) บนพื้นที่สูงในอำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เรือนแก้ว.


ศุภพร สุวรรณภักดี. (2560). ค่ายอักษร-ศิลป์ เพื่อน้อง: ดนตรีและศิลปะสร้างสรรค์แบบผู้คนมีส่วนร่วม.ใน ศุภพร สุวรรณภักดี (บ.ก.), ค่ายอักษร-ศิลป์ เพื่อน้อง โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนจุฬา - ธรรมศาสตร์ 3 ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (หน้า 7). กรุงเทพฯ : หยินหยาง การพิมพ์.

ศุภพร สุวรรณภักดี. (2561). ค่ายอักษร-ศิลป์ เพื่อน้องฯ ปีที่ 2 กิจกรรมดนตรีและศิลปะแบบ (คน) มีส่วนร่วมสู่ความเข้าใจ (คน) ในชุมชน. ใน ศุภพร สุวรรณภักดี (บ.ก.), ค่ายอักษร - ศิลป์ เพื่อน้องฯ ปีที่ 2 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนจุฬา-ธรรมศาสตร์ 3 ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (หน้า 29-32). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.


ศุภพร สุวรรณภักดี. (2561). แนวคิดค่ายอักษร-ศิลป์ เพื่อน้องฯ ปีที่ 2 มโนทัศน์ความเป็นจิตอาสา.ใน ศุภพร สุวรรณภักดี (บ.ก.), ค่ายอักษร - ศิลป์ เพื่อน้อง ปีที่ 2 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน จุฬา - ธรรมศาสตร์ 3 ตำบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (หน้า 29-32). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศุภพร สุวรรณภักดี . (2563). แนวคิดในการพัฒนากิจกรรมค่ายอักษร-ศิลป์ เพื่อน้องปีที่ 3 (พ.ศ. 2562).ใน ศุภพร สุวรรณภักดี (บ.ก.), ค่ายอักษร - ศิลป์ เพื่อน้อง ปีที่ 3 โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนจุฬา - ธรรมศาสตร์ 3 ตําบลแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก (หน้า 34-43). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย .

สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา. (2019). วิสัยทัศน์ พันธิกิจและค่านิยมองค์กร. สืบค้น 1 ธันวาคม 2562. จาก http://www.pgvim.ac.th/th/about/Vision.php

สุปัญญดา สุนทรนนธ์, และ ณัฐนรินทร์ เนียมประดิษฐ์. (2562). การประยุกต์ใช้การออกแบบนวัตกรรม ด้วยกระดาษแผ่นเดียวสำหรับการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์: คืออะไร และ ใช้อย่างไร?. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 24(2), 87-91.

สุวัฒน์ เบญจพลพิทักษ์ ศ.คลินิก. (ม.ป.ป.). มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา มมศท 100 การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์. สืบค้น 1 กุมภาพันธ์ 2564 จาก  https://op.mahidol.ac.th/ea/wp-content/uploads/2019/07/MUGE100.pdf


ภาษาต่างประเทศ


Armstrong, P. (2010). Bloom’s Taxonomy. Vanderbilt University Center for Teaching.
Retrieved 1 February 2020 from https://cft.vanderbilt.edu/guides-sub-pages/blooms-taxonomy/.

BOP. n.d.). Edinburg Festivals Impact Study. Retrieved  1 October 2019 from https://www.edinburghfestivalcity.com/assets/000/000/338/BOP_Edinburgh_Festivals_Impact_-_01.05.11_original.pdf?1411035388 

Gillies, M. (2001). Béla Bartók 1903-8. In S. Sadie (Ed.), The New Grove Dictionary of Music and Musicians (pp. 790-791). London: Macmillan Publishers.

Merriam, A. P. (1969). Field Techniques in Ethnomusicology: The Basongye (Republic of the Congo). JSTOR, 13(2), 213-229.  doi:10.2307/850146


Oxford Cambridge & RSA. (2020,). Music in the Community: OCR level 3 Cambridge technical in performing arts.  Oxford Cambridge and RSA.

https://www.ocr.org.uk/Images/141422-music-in-the-community.pdf

Shoocongdej, R. (2020). From (different) Horizons of Rockshelter in Highland Pang Mapha, Mae Hong Son, Thailand. Retrieved from http://www.rasmishoocongdej.com/fdhrs-exhibition/exhibition/

Solís, T. (2004). Teaching What Cannot Be Taught: An optimistic overview. In………(Eds.), Performing Ethnomusicology: Teaching and Representation in world music ensemble. Berkeley: University of Califonia Press.

Suwanpakdee, S., &Poktihitiyuk, Y. (2018). Aksornsilpa: Participation in Music and Arts Camp. Princess Galyani Vadhana International Symposium 2018, 39-40.

Music for Society III 1/2021: Text
bottom of page